ไทยลีก (Thai League) แข่งขันฟุตบอลอาชีพลีกในระดับสูงสุด ที่ได้รับความนิยมจากคนไทยมากมาย

ไทยลีก วันนี้จะพามาทำความรู้จักกับ การแข่งขันฟุตบอลอาชีพ ในระดับลีกสูงสุดของไทย ที่ได้รับความสนใจจากชาวไทยมากมาย

ไทยลีก ชื่อย่อT1 ลีกสูงสุดของฟุตบอลอาชีพ เป็นระบบการแข่งขันฟุตบอลลีก ในระดับสูงสุดของประเทศไทย ก่อตั้งในปีพ.ศ.2539 ภายใต้การบริหารของบริษัท ไทยลีก จำกัด มีสโมสรฟุตบอลที่เข้าร่วม การแข่งขันทั้งหมด16สโมสร โดยแต่ละสโมสรจะแข่งขันแบบพบกันหมด สองนัดเหย้าเยือนรวม30นัด ต่อสโมสรต่อฤดูกาล รวมทั้งหมด240นัดต่อฤดูกาล โดยนับตั้งแต่จัดตั้งลีกขึ้นมา

มีทั้งหมด41สโมสร ที่ได้เข้าร่วมการแข่งขัน การแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย และมี13สโมสรที่ได้แชมป์ไทยลีก คือ บุรีรัมย์ยูไนเต็ด (โดยนับรวมสมัยลงแข่งขันในนามสโมสรบุรีรัมย์ พีอีเอ), เมืองทองยูไนเต็ด , โปลิศเทโร, ทหารอากาศ และธนาคารกรุงไทย, ธนาคารกรุงเทพ, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, สินธนา, ชลบุรี เอฟซี, การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค, พนักงานยาสูบ, เชียงรายยูไนเต็ด และบีจีปทุมยูไนเต็ด ดูบอล

ไทยลีก

มาดูถึงประวัติของ ไทยลีก ว่ามีความเป็นมาอย่างไร? ก่อนจะมาเป็นการแข่งขันที่ ได้รับความสนใจจาก แฟนฟุตบอลชาวไทย

เมื่อปีพ.ศ.2539 สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ การแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย ได้มีความคิดในการที่จะปรับปรุง ระบบการแข่งขันฟุตบอลในประเทศ จากวัตถุประสงค์เพื่อความเป็นเลิศ มาเป็นรูปแบบอาชีพ ไทยลีก โดยเริ่มก่อตั้งฟุตบอลลีกสูงสุดขึ้น โดยเดิมทีการแข่งขันฟุตบอล ระดับสโมสรระดับสูงสุดของประเทศคือ ฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. (ถ้วยใหญ่)

ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ปีพ.ศ.2459 จนถึงปีพ.ศ.2538 (ในฐานะการแข่งขันฟุตบอลระดับ สโมสรระดับสูงสุดของประเทศ) โดยมีสโมสรฟุตบอลเข้าร่วมแข่งขัน ใน ฤดูกาลแรกทั้งหมด18สโมสร ก่อนที่จะมีการปรับโครงสร้างเป็น10สโมสร จนถึงฤดูกาล2547/48 ในปีพ.ศ.2549 มีการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญคือ เริ่มมีการให้สิทธิสโมสรที่จบตำแหน่ง ชนะเลิศและรองชนะเลิศใน โปรวินเชียลลีก

เข้าร่วมการแข่งขันได้ ซึ่งทำให้มีการเพิ่มจำนวนสโมสร ที่เข้าร่วมการแข่งขันเป็น12สโมสร ตั้งแต่ฤดูกาล2549 จนกระทั่งในปีถัดมา(พ.ศ.2550) จึงมีการควบรวม โปรวินเชียลลีก โดยได้มีการจัดทำบันทึกช่วยจำ การจัดการแข่งขันฟุตบอลอาชีพ ของประเทศไทย ระหว่างการกีฬาแห่งประเทศไทย กับสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ

ซึ่งเป็นเอกสารข้อตกลง ในการรวมลีกทั้งสองเข้าเป็นลีกเดียว โดยให้สิทธิสโมสรที่จบตำแหน่งชนะเลิศ และรองชนะเลิศในการแข่งขัน โปรลีกฤดูกาล2549 เข้าแข่งขันใน ไทยแลนด์พรีเมียร์ลีกด้วย ซึ่งทำให้มีการเพิ่มจำนวนสโมสร ที่เข้าแข่งขันเป็น16สโมสร

พร้อมทั้งเพิ่มเงื่อนไขให้ สโมสรซึ่งอยู่ใน3อันดับสุดท้าย เมื่อจบฤดูกาลต้องตกชั้นไปสู่ ไทยลีกดิวิชั่น1 โดยให้สิทธิสโมสรชนะเลิศ รองชนะเลิศและอันดับที่3 ของไทยลีกดิวิชั่น1 เลื่อนชั้นมาแข่งขันเป็นการทดแทน ลีกสูงสุดของฟุตบอลอาชีพ โดยสโมสรแรกที่มาจาก โปรวินเชียลลีก แล้วสามารถชนะเลิศการแข่งขันได้คือ ชลบุรีเอฟซี ในฤดูกาล2550 สโมสรฟุตบอลอาชีพในลีกสูงสุดของประเทศไทย

ไทยลีก

การปรับโครงสร้างไทยลีก สู่ลีกอาชีพที่ได้รับความนิยม อย่างมาก

ต่อมาในปีพ.ศ.2552 สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย ลีกสูงสุดของฟุตบอลอาชีพ ออกระเบียบว่าด้วยความเป็น สโมสรฟุตบอลอาชีพอย่างสมบูรณ์แบบ เป็นผลให้สมาคมฯ ไทยลีก ต้องดำเนินการจัดตั้งนิติบุคคล เพื่อบริหารลีกและจัดการแข่งขันแทนที่ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ โดยได้มีการจัดตั้ง บริษัท ไทยพรีเมียร์ลีก จำกัดขึ้น โดยมี วิชิต แย้มบุญเรือง อดีตนักฟุตบอลทีมชาติไทย เป็นประธานกรรมการคนแรก

และออกระเบียบให้ผู้บริหาร สโมสรฟุตบอลอาชีพ ต้องจัดตั้งในรูปนิติบุคคล(บริษัท) เพื่อดำเนินการบริหารสโมสร ส่งผลให้มีการแข่งขันเชิงรูปแบบ การบริหารจัดการให้เป็นมืออาชีพยิ่งขึ้น รวมทั้งแพร่หลายออกไปยัง ส่วนภูมิภาคทั่วประเทศ ไทยลีก จากเดิมที่สโมสรฟุตบอลต่างๆ จะกระจุกตัวอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร และปริมณฑลเท่านั้น จึงกลับมาเป็นที่นิยมของ แฟนฟุตบอลไทยอีกครั้ง

โดยในฤดูกาล2554 สมาคมฯประกาศเพิ่มจำนวน สโมสรที่จะทำการแข่งขันเป็น18สโมสร ภายหลังจากการเลือกตั้งนายก สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่11กุมภาพันธ์2559 ซึ่ง พลตำรวจเอก สมยศ พุ่มพันธุ์ม่วง ซึ่งได้รับเลือกจากสโมสรสมาชิก ให้ดำรงตำแหน่ง นายกสมาคม คนใหม่ ได้ประกาศว่า ได้ทำการจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทใหม่ขึ้น

มาทำหน้าที่แทน บจก.ไทยพรีเมียร์ลีกจำกัด การแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย เป็นที่เรียบร้อยแล้วโดยใช้ชื่อว่า บริษัท พรีเมียร์ลีกไทยแลนด์จำกัด(PLT) และได้มีการจัดหาตัวแทนบริหาร สิทธิประโยชน์ของลีก แทนที่ บริษัท สยามสปอร์ต ซินดิเคทจำกัด(มหาชน) ที่ได้มีการยกเลิกสัญญาไป

กรณีพิพาทของลีก

ต่อมาได้มีกรณีข้อพิพาท การแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย ในเรื่องสิทธิการบริหารสโมสร และสิทธิการแข่งขัน ระหว่าง อีสานยูไนเต็ด และศรีสะเกษเอฟซี โดยทาง อีสานยูไนเต็ด ได้ยื่นคำร้องต่อศาลปกครอง เพื่อขอให้พิจารณาว่า ศรีสะเกษเอฟซี มีสิทธิทำการแข่งขันในฤดูกาล2556 หรือไม่ ซึ่งศาลปกครองมีคำสั่งให้ คุ้มครองชั่วคราวเป็นผลให้ บจก.ไทยพรีเมียร์ลีก

ต้องลงมติให้พักการแข่งขันของ สโมสรฟุตบอลศรีสะเกษ ตามคำสั่งคุ้มครองฯของศาล โดยเมื่อศาลปกครองวินิจฉัย ให้สโมสรฟุตบอลศรีสะเกษ มีสิทธิทำการแข่งขันฟุตบอล ไทยพรีเมียร์ลีกได้ต่อไป สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทยฯ จึงประชุมร่วมกับบจก.ไทยพรีเมียร์ลีก สโมสรฟุตบอลศรีสะเกษ และสโมสรสมาชิกทั้งหมด โดยที่ประชุมลงมติให้ฤดูกาล2557 เพิ่มสมาชิกเป็น20สโมสร

และกำหนดสโมสรที่จะต้อง ตกชั้นลงไปแข่งขันไทยลีกดิวิชั่น1 ต้องมีถึง5สโมสรคือ อันดับที่16-20 (ขณะเดียวกัน ทั้งสองฤดูกาลดังกล่าว ยังคงให้สโมสรชนะเลิศ, รองชนะเลิศ และอันดับที่3 ของไทยลีกดิวิชัน1 ขึ้นมาแข่งขันในไทยพรีเมียร์ลีกตามเดิม) ลีกสูงสุดของฟุตบอลอาชีพ เพื่อทำให้สโมสรสมาชิก คงเหลือเพียง18ทีมเท่าเดิม ส่วนฤดูกาล2556 ให้สโมสรอันดับที่17 ต้องตกชั้นลงไปแข่งขันใน ไทยลีกดิวิชัน1 เพียงทีมเดียว

ไทยลีกและรูปแบบการแข่งขัน

มีสโมสรฟุตบอลเข้าร่วม การแข่งขันทั้งหมด16สโมสร ลีกสูงสุดของฟุตบอลอาชีพ ตามปกติจะดำเนินการจัดแข่งขัน ระหว่างเดือนมีนาคมถึงตุลาคม ของทุกปี โดยแต่ละสโมสรจะแข่งขัน แบบพบกันหมดสองนัดเหย้าเยือน รวม30นัดต่อสโมสรต่อฤดูกาล ซึ่งในแต่ละนัดผู้ชนะจะได้ 3คะแนน เสมอได้1คะแนน แพ้ไม่ได้คะแนน ทั้งนี้เมื่อสิ้นสุดฤดูกาล สโมสรที่ได้คะแนนรวมสูงสุด จะได้รับตำแหน่งชนะเลิศ

และได้สิทธิไปแข่งขันรายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติ ส่วนสโมสรที่ได้รองชนะเลิศ และอันดับที่3 จะได้ไปแข่งในรายการเดียวกัน แต่จะแข่งขันใน รอบคัดเลือกรอบสอง (กรณีสโมสรที่ชนะเลิศ หรือรองชนะเลิศไทยลีก และสโมสรที่ชนะเลิศ ไทย เอฟเอคัพ ในฤดูกาลเดียวกัน เป็นสโมสรเดียวกันสิทธิแข่งขัน จะตกเป็นของสโมสรที่ได้คะแนนอันดับที่ 4 ของลีกแทน)

ส่วนสโมสรที่ได้คะแนนรองลงมา จะเรียงอันดับลดหลั่นกัน ตามคะแนนรวมที่ได้ การแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย โดยสโมสรที่จบฤดูกาลในสามอันดับสุดท้าย จะตกชั้นสู่ไทยลีก2 และทีมที่อันดับสูงที่สุด สองทีมในไทยลีก2จะเลื่อนชั้นไป พร้อมกับอีกหนึ่งทีมที่มาจากการ ชนะเลิศในการแข่งขันเพลย์ออฟระหว่างอันดับที่ 3, 4, 5 และ6

การปรับโครงสร้างระบบลีก

ต่อมาได้มีการจัดตั้ง บริษัทไทยลีกจำกัด ขึ้นมาแทนบจก.พรีเมียร์ลีกไทยแลนด์ การแข่งขันฟุตบอลลีกระดับสูงสุดของประเทศไทย ตามคำแนะนำของ สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย และสหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ โดยได้โอนหุ้นจำนวน99.98% ที่ทางนายกสมาคมฯ ถือไว้ให้กับสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ต่อมาสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้มีนโยบาย ในการพัฒนาศักยภาพสโมสร ฟุตบอลลีกอาชีพอย่างยั่งยืน และยกระดับลีกภายในประเทศ ให้ก้าวไปสู่ลีกชั้นนำของอาเซียน และเอเชีย เริ่มจากการตั้งและปรับเปลี่ยนชื่อลีก ลีกสูงสุดของฟุตบอลอาชีพ แต่ละระดับให้อยู่บนพื้นฐานเดียวกัน เน้นความเรียบง่าย กระชับ น่าจดจำและร่วมสมัยที่สุด

ตาราง-12-05-64-v