ประวัติบอลไทย และความเป็นมาของฟุตบอลอาชีพ ในประเทศไทย ที่มาที่ไปของไทยลีก

ประวัติบอลไทย ที่ไปที่มาของ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ประวัติบอลไทย ฟุตบอลถือเป็นกีฬาซึ่งเป็นที่นิยมสูงสุดในประเทศไทย มีสมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นหน่วยงานที่กำกับดูแล ฟุตบอลทีมชาติไทย ซึ่งประสบความสำเร็จในระดับอาเซียน และรายการแข่งขันแบบอาชีพ ไทยพรีเมียร์ลีก โดยในอดีต เคยจัดการแข่งขันระดับโลกหลายครั้ง

เช่นเอเชียนคัพ 2 ครั้ง ฟุตบอลอายุไม่เกิน 19 ปีชิงแชมป์เอเชีย 10 ครั้ง และฟุตบอลโลกหญิงอายุไม่เกิน 20 ปี 1 ครั้งเมื่อปี พ.ศ. 2458 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เจ้าพระยาธรรมศักดิ์มนตรี (สนั่น เทพหัสดิน ณ อยุธยา) เป็นผู้ริเริ่มนำกีฬาฟุตบอล เข้ามาเล่นในไทยเป็นครั้งแรก

จนกระทั่งเกิดความนิยมแผ่ขยาย กว้างขวางไปทั่วประเทศ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งสโมสรคณะฟุตบอลสยาม ขึ้นโดยมีพระองค์และพระบรมวงศานุวงศ์ ทรงลงแข่งขันเป็นผู้เล่นเอง ประวัติฟุตบอลแบบย่อ และเมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458

มีการจัดแข่งขันในระดับนานาชาติขึ้นเป็นครั้งแรก ระหว่างทีมชาติสยาม (ปัจจุบันคือ ฟุตบอลทีมชาติไทย) กับทีมราชกรีฑาสโมสร ที่สนามราชกรีฑาสโมสร โดยมีดักลาส โรเบิร์ตสัน เป็นกรรมการผู้ตัดสินจากนั้นเมื่อวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2459 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ก่อตั้งสมาคมฟุตบอลแห่งชาติสยาม ขึ้นโดยทรงรับเข้าอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ตั้งแต่เริ่มแรก พร้อมทั้งตราข้อบังคับสมาคมฯ และแต่งตั้งสภากรรมการบริหารชุดแรก ประกอบด้วยข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ 7 ท่าน โดยมีพระยาประสิทธิ์ศุภการ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ ต่อมาโปรดเกล้าฯ เลื่อนบรรดาศักดิ์ขึ้นเป็น เจ้าพระยารามราฆพ)

ประวัติบอลไทย

เป็นนายกสภาฯ และพระราชดรุณรักษ์ (เสริญ ปันยารชุน ต่อมาโปรดเกล้าฯ เลื่อนบรรดาศักดิ์ขึ้นเป็น พระยาปรีชานุสาสน์) เป็นเลขาธิการต่อมาราวปลายปีเดียวกัน จึงเริ่มจัดการแข่งขันฟุตบอลถ้วยใหญ่ ซึ่งอาจจะไม่จริงก็ได้(ถ้วยพระราชทาน ก) และฟุตบอลถ้วยน้อย (ถ้วยพระราชทาน ข) ขึ้นเป็นครั้งแรก

ทั้งนี้สมาคมฯ เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ (ฟีฟ่า) เมื่อวันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2468 และสืบเนื่องจากที่รัฐบาล จอมพล แปลก พิบูลสงคราม ประกาศรัฐนิยมเปลี่ยนชื่อประเทศ จากสยามเป็นไทยเมื่อปี พ.ศ. 2482 จึงเปลี่ยนชื่อสมาคมเป็น สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

และเปลี่ยนชื่อฟุตบอลทีมชาติเป็น ฟุตบอลทีมชาติไทย โดยสมาคมฯ ส่งฟุตบอลทีมชาติไทย ลงแข่งขันระดับนานาชาติเป็นครั้งแรก ในการแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 16 ที่นครเมลเบิร์นของออสเตรเลีย เมื่อปี พ.ศ. 2499จากนั้นสมาคมฯ เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟซี) เมื่อปี พ.ศ. 2500

และเข้าร่วมเป็นสมาชิกก่อตั้ง ของสมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย (เอเอฟเอฟ) เมื่อวันที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2527 ทั้งนี้ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2504 สมาคมฯ จัดระบบการแข่งขันฟุตบอลเสียใหม่เป็นระดับชั้น (Division) โดยตั้งวัตถุประสงค์เพื่อความเป็นเลิศ ตามรูปแบบของสมาคมฟุตบอลอังกฤษในขณะนั้น มังงะ

คือจัดเป็นฟุตบอลถ้วยพระราชทาน ประเภท ก ข ค และ ง ตลอดจนไทยเอฟเอคัพ (เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2513) รวมถึงฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานคิงส์คัพ (เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2511) และควีนสคัพ (เริ่มจัดครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2513) เป็นต้น นอกจากนี้ยังจัดการแข่งขันในระดับอื่นเช่น ฟุตบอลนักเรียน, ฟุตบอลอาชีวศึกษา, ฟุตบอลเยาวชนและอนุชน, ฟุตบอลเตรียมอุดมศึกษา, ฟุตบอลอุดมศึกษา ประวัติกีฬาฟุตบอลในประเทศไทย รวมทั้งกำกับดูแลในการส่งทีมฟุตบอลต่างๆ บอลโลก 2018

เพื่อเข้าร่วมการแข่งขันระหว่างประเทศอีกด้วย สำหรับสโมสรฟุตบอลของไทย ที่ประสบความสำเร็จสูงสุดคือ สโมสรฟุตบอลธนาคารกสิกรไทย จากผลงานชนะเลิศรายการเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกในระดับเอเชีย 2 ครั้งในปี พ.ศ. 2537 และ 2538 โดยมีสโมสรฟุตบอลบีอีซี เทโรศาสน ซึ่งอยู่ในตำแหน่งรองชนะเลิศ ของรายการเดียวกันเมื่อปี พ.ศ. 2546 

ประวัติบอลไทย

ฟุตบอลอาชีพสูงสุดของประเทศไทยมี ประวัติบอลไทย ที่น่าศึกษาเรียนรู้

ประวัติฟุตบอลไทยลีก สำหรับไทยลีก (Thai League) เป็นการแข่งขันฟุตบอลลีกในระดับสูงสุด ของประเทศไทยก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2539 ภายใต้การบริหารของ บริษัท ไทยลีก จำกัด มีสโมสรฟุตบอลที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งหมด 16 สโมสร แข่งขันในช่วงระหว่างเดือนมีนาคมถึงตุลาคมของทุกปี

แข่งขันแบบพบกันหมด สองนัดเหย้าเยือนรวม 30 นัดต่อสโมสรต่อฤดูกาล รวมทั้งหมด 240 นัดต่อฤดูกาลโดยไทยลีกเดิมที เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงถ้วยพระราชทานประเภท ก. (ถ้วยใหญ่) ซึ่งจัดการแข่งขันตั้งแต่ปี พ.ศ. 2459 จนถึงปี พ.ศ. 2538 (ในฐานะการแข่งขันฟุตบอลระดับสโมสรระดับสูงสุดของประเทศ)

โดยมีสโมสรฟุตบอลเข้าร่วมแข่งขันใน ฤดูกาลแรก ทั้งหมด 18 สโมสร ก่อนที่จะมีการปรับโครงสร้างเป็น 10 สโมสร จนถึง ฤดูกาล 2547/48 และชลบุรี เอฟซี เป็นแชมป์ถ้วยพระราชทานประเภท ก. ทีมแรกของประเทศไทยส่วนรูปแบบการแข่งขัน โปรแกรมบอลไทยลีกวันนี้ แต่ละสโมสรจะแข่งขันแบบพบกันหมด สองนัดเหย้าเยือน

ซึ่งในแต่ละนัด ผู้ชนะจะได้ 3 คะแนน เสมอได้ 1 คะแนน แพ้ไม่ได้คะแนน ทั้งนี้เมื่อสิ้นสุดฤดูกาล สโมสรที่ได้คะแนนรวมสูงสุด จะได้รับตำแหน่งชนะเลิศ และได้สิทธิไปแข่งขันรายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก รอบแบ่งกลุ่มโดยอัตโนมัติ ส่วนสโมสรที่ได้รองชนะเลิศ และอันดับที่ 3

จะได้ไปแข่งในรายการเดียวกัน แต่จะแข่งขันใน รอบคัดเลือก รอบสอง และสโมสรที่จบฤดูกาลในสามอันดับสุดท้าย จะตกชั้นสู่ไทยลีก 2 และ ทีมที่อันดับสูงที่สุดสองทีมในไทยลีก 2 จะเลื่อนชั้นไป พร้อมกับอีกหนึ่งทีมที่มาจากการชนะเลิศในการแข่งขันเพลย์ออฟระหว่างอันดับที่ 3, 4, 5 และ 6

สนามฟุตบอลในประเทศไทย มีกี่สนามเรามาดูกัน

สนามฟุตบอลขนาดมาตรฐานแห่งแรก ของประเทศไทยคือ สนามกรีฑาสถาน (ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น สนามศุภชลาศัย เพื่อเป็นอนุสรณ์ถึง นาวาโท หลวงศุภชลาศัย อธิบดีกรมพลศึกษาคนแรก) ตั้งอยู่ภายในกรีฑาสถานแห่งชาตฺิ บริเวณที่ทำการของกรมพลศึกษา เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร

เริ่มการก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ 2480 แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ 2484 สมาคมฟุตบอลในประเทศไทยโดยส่วนมาก มักสร้างขึ้นพร้อมกับสนามแข่งขันกรีฑา และอัฒจันทร์โดยรอบในสานะของสนามหลัก (Main Stadium) ภายในศูนย์กีฬาระดับต่างๆ โดยมักตั้งอยู่ในกรุงเทพมหานคร หรือเป็นส่วนหนึ่งของสนามกีฬากลางในแต่ละจังหวัด

ต่อมาหลังจากปี พ.ศ 2552เมื่อฟุตบอลระบบลีกอาชีพของไทย เป็นที่นิยมอย่างสูง สโมสรฟุตบอลชั้นนำหลายแห่ง จึงเริ่มลงทุนจัดสร้างสนามฟุตบอล โดยเฉพาะเป็นของตนเองทั้งนี้สนามฟุตบอลในกรุงเทพมหานคร มีหลายแห่งที่สำคัญเช่นศูนย์เยาวชนกรุงเทพมหานคร(ไทย-ญี่ปุ่น) ราชมังคลากีฬาสถาน

สนากีฬากองทัพบก สนามกีฬากองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย์) สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สนามฟุตบอลเทพหัสดิน แพตสเตเดียม สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา เป็นต้น ส่วนสนามฟุตบอลที่สำคัญในเขตปริมณฑล มีอาทิ เอสซีจีสเตเดียม สนามทีโอที แจ้งวัฒนะ ตารางบอลไทย ในจังหวัดนนทบุรี

สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต ลีโอสเตเดียม ในจังหวัดปทุมธานี เป็นต้นสำหรับสนามฟุตบอลในส่วนภูมิภาคที่สำคัญ นอกจากสนามกีฬากลางประจำจังหวัด ยังมีอีกหลายแห่งเช่น สนามกีฬากลาง จังหวัดนนทบุรี สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี ในจังหวัดเชียงใหม่

สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวา 2550 จังหวัดนครราชสีมา ชลบุรีสเตเดียม ในจังหวัดชลบุรี ช้างอารีนา ในจังหวัดบุรีรัมย์ มิตรผลสเตเดียม ในจังหวัดราชบุรี สนามกีฬาจิระนคร และสนามกีฬาติณสูลานนท์ ในจังหวัดสงขลา ตารางคะแนนไทยลีก2ล่าสุด เป็นต้น ซึ่งสมาพันธ์ฟุตบอลแห่งเอเชีย(เอเอฟซี)

กำหนดให้สโมสรที่เข้าร่วมแข่งขัน รายการ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกต้องมีใบรับรองสโมสร (Club licensing) อย่างถูกต้องตามที่เอเอฟซีกำหนด จึงสามารถใช้สนามเหย้าทำการแข่งขันได้ โดยในปัจจุบันประเทศไทยมีอยู่ 8 สนามคือ ช้างอารีนา, เอสซีจีสเตเดียม, ลีโอสเตเดียม, ชลบุรีสเตเดียม, สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต, สนามกีฬากลางจังหวัดนนทบุรี, มิตรผลสเตเดียม

และสนามทุ่งทะเลหลวงนอกจากนี้ ยังมีอีกสองสนาม ที่เอเอฟซีใกล้จะออกใบรับรองสโมสรคือ สนามกีฬาเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา และสนามกีฬากลางจังหวัดชัยนาทสำหรับสนามฟุตบอลที่สหพันธ์ฟุตบอลระหว่างประเทศ(ฟีฟ่า) รับรองมาตรฐาน ในประเทศไทยมีอยู่ 3 สนามคือ ช้างอารีนา, มิตรผลสเตเดียม และลีโอสเตเดียม

ประวัติบอลไทย

ช้างผู้สนันสนุน เพื่อนแท้บอลไทย ป้ายข้างสนามและบนเสื้อทีมชาติไทย

ภาพจำคุ้นตาที่อยู่เคียงข้างทีมชาติไทย คือ “เครื่องดื่มตราช้าง”กว่า 20 ปีที่อยู่กับทีมชาติไทย สิ่งที่เห็นได้เป็นรูปธรรมมากที่สุด คือ ช้าง ให้การสนับสนุนฟุตบอลทีมชาติไทย ทุกชุด ทุกรุ่นอายุ ทั้งชายและหญิง เมื่อฟุตบอลอาชีพเริ่มเติบโต “เครื่องดื่มตราช้าง” ได้เห็นความสำคัญ ที่จะช่วยยกระดับลีกอาชีพ

จึงได้เข้ามาสนับสนุนทีมต่างๆมากมาย ตั้งแต่ลีกรากหญ้า จนถึงลีกสูงสุด ปัจจุบันมีสโมสรจาก T1 – T3 ที่เครื่องดื่มตราช้าง ให้การสนับสนุนกว่า 20 ทีม และสนับสนุนฟุตบอลถ้วยรายการสำคัญ ภายใต้ชื่อ “ช้าง เอฟเอ คัพ” ซึ่งปีนี้ก็เดินทางมาถึงปีที่ 50 อีกด้วยไม่ใช่แค่ในไทย

แต่ที่ผ่านมา “เครื่องดื่มตราช้าง” ให้การสนับสนุนทีมฟุตบอลชั้นนำของโลกมาแล้วหลายสโมสร ไล่ตั้งแต่ เรอัล มาดริด, บาร์เซโลนา, เอฟเวอร์ตัน และปัจจุบันเป็นโกลบอล พาร์ทเนอร์ ร่วมกับ เลสเตอร์ ซิตี้แต่สิ่งที่ยืนยันว่า “เครื่องดื่มตราช้าง” ไม่ได้สนับสนุนเพียงผิวเผินให้เกิดภาพจำ

ทว่าต้องการเป็น “ส่วนสำคัญ” ในการพัฒนาตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำจริง คือ กิจกรรมการสนับสนุนฟุตบอลเยาวชนจุดเริ่มต้นของความต้องการพัฒนาฟุตบอลเยาวชน เริ่มจากการก่อตั้ง ThaiBev Football Academy ย่านเหม่งจ๋าย ผลบอลไทยลีก สอนฟุตบอลคลินิค ให้เด็กและเยาวชนอายุ 6-18 ปี

แบบไม่เสียค่าใช้จ่าย มายาวนานมากกว่า 15 ปีแล้ว ถึงแม้จะมีการแพร่ระบาดของ Covid-19 ทำให้ต้องหยุดการฝึกฟุตบอลชั่วคราว แต่เมื่อสถานการณ์ดีขึ้น ก็มีการปรับรูปแบบฝึกฟุตบอลแบบ New Normal ตามมาตรฐานของ ศบค.ที่ได้ระบุไว้นอกจากนั้น ช้างยังจัดแข่งฟุตบอลรุ่นอายุไม่เกิน 13 ปี ภายใต้ชื่อว่า Chang Junior Cup มาตั้งแต่ปี 2013

ซึ่งแต่ละทีมที่เข้าร่วมแข่งขันไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายใด ๆ โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมามีเด็ก ๆ ได้รับโอกาสมาโชว์ฝีเท้ากว่า 23,000 คน จาก 1,515 ทีม ผู้ชนะในแต่ละปีจะได้ไปสัมผัสฟุตบอลที่อังกฤษแบบครบทีมChang Mobile Football Clinic เป็นอีกหนึ่งกิจกรรม ที่แสดงให้เห็นว่า “เครื่องดื่มตราช้าง” ให้ความสำคัญต่อการพัฒนาฟุตบอลทุกพื้นที่

โดยจะเดินทางไปยังพื้นที่ห่างไกล พร้อมกับโค้ชระดับไลเซนส์ ไปสอนฟุตบอลเด็กและเยาวชนอายุ 6-16 ปี ซึ่ง 9 ปีที่ผ่านมาได้เดินทางไปมากกว่า 60 จังหวัด มีน้องๆทั้งชายและหญิงเข้าร่วมโครงการกว่า 100,000 คนแล้ว และมีเป้าหมายว่าอีก 2 ปีข้างหน้า “ช้าง” จะเดินทางไปให้ครบ 77 จังหวัดของประเทศไทย

สำหรับเด็กๆที่มีความสามารถจาก Chang Mobile Football Clinic จะถูกนำเข้ามาเก็บตัวฝึกซ้อมอย่างเข้มข้นที่กรุงเทพฯ เป็นเวลา 10 วัน ภายใต้โครงการ Chang Advance Football Camp นอกจากนี้ยังมีโครงการ Chang Football Community ถ่ายทอดสดฟุตบอลไทยลีกวันนี้ ซึ่งช้างอยากสนับสนุนให้เกิดชุมชนเข้มแข็ง

จึงมอบอุปกรณ์กีฬา และผลิตภัณฑ์กีฬา เพื่อเพิ่มศักยภาพฟุตบอลในชุมชน และยังมี Chang FA Cup Football Clinic ที่จัดควบคู่กับศึกช้าง เอฟเอ คัพ ตลอดทั้งปียิ่งไปกว่านั้น คือการมอบกองทุน 10 ปี 100 ล้านบาทให้กับสมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

เพื่อพัฒนาทีมเยาวชนของชาติ และที่ลืมไม่ได้เมื่อให้ความสำคัญกับเยาวชน คือ การให้ความสำคัญกับผู้ฝึกสอน “ช้าง” สนับสนุนการอบรมผู้ฝึกสอนอย่างเต็มรูปแบบต่อเนื่องร่วม 10 ปีดังนั้น “เครื่องดื่มตราช้าง” จึงไม่ใช่แค่สร้างภาพจำให้เกิดความรู้สึกเพียงว่าเป็นผู้สนับสนุนฟุตบอลไทยแต่ “เครื่องดื่มตราช้าง” ยืนเคียงข้างและจับมือเดินจูงพาฟุตบอลไทย เติบโตมาในทุกย่างก้าว ตั้งแต่ต้นน้ำถึงปลายน้ำมาตลอด 20 ปี UFABET

กติกามารยาทการเล่นฟุตบอล ประวัติบอลไทย แบบเข้าใจง่าย

ในกีฬาฟุตบอลมีกติกาสากลทั้งหมด 17 ข้อหลัก ที่มีการใช้ในฟุตบอลทั่วโลก โดยกติกาอาจมีการดัดแปลงบ้าง สำหรับฟุตบอลเด็กและฟุตบอลหญิง ยาว 90-120 เมตร และความกว้างระหว่าง 70-90 เมตร โดยเส้นขอบสนามของด้านยาวจะเรียกว่า “เส้นข้าง” ขณะที่ขอบสนามของด้านกว้างจะเรียกว่า “เส้นประตู”

โดยคานประตูจะตั้งอยู่กึ่งกลางบนเส้นประตู โดยมีความสูง 2.44 เมตร (8 ฟุต) เหนือจากพื้นดิน และเสาประตูจะห่างกัน 7.4 เมตร (8 หลา) เสาและคานประตูจะต้องมีสีขาว ตาข่ายจะมีการขึงด้านหลังประตู แต่อย่างไรก็ตามตาข่ายประตู ไม่ได้มีกำหนดไว้ ในกติกาสากลด้านหน้าประตูจะเป็นบริเวณเขตโทษ

ซึ่งแสดงถึงบริเวณที่ ผู้รักษาประตู สามารถถือบอลได้และยังคงใช้ในการเตะลูกโทษ ระยะเวลาการแข่งขันการแข่งขันจะแบ่งออกเป็นสองครึ่ง โดยครึ่งละ 45 นาที โดยเวลาการแข่งขันจะมีการนับตลอดเวลา แม้ว่าฟุตบอลจะถูกเตะออกนอกสนาม และกรรมการสั่งให้หยุดเล่นก็ตาม ระหว่างครึ่งจะมีเวลาพักให้ 15 นาที

กรรมการจะเป็นคนควบคุมเวลา และจะทำการทดเวลาบาดเจ็บในช่วงท้าย ของแต่ละครึ่งเพื่อทดแทนเวลาที่เสียไประหว่างการเล่น โดยเมื่อจบการแข่งขันกรรมการจะทำการเป่านกหวีด เพื่อหยุดการแข่งขันในการแข่งขัน ตารางคะแนนไทยลีกล่าสุด แบบลีกจะมีการจบการแข่งขันสำหรับผลเสมอ

แต่สำหรับการแข่งขันที่ต้องรู้ผลแพ้ชนะ จะมีการต่อเวลาพิเศษ ซึ่งจะประกอบไปด้วย 2 ครึ่ง ครึ่งละ 15 นาที โดยถ้าคะแนนยังคงเสมอกัน จะมีการให้เตะลูกโทษ (ด้านการเตะลูกโทษมีคนวิจัยมาว่าทีมไหนเตะก่อนจะมีเปอร์เซนต์การชนะมากกว่าทีมที่เตะทีหลัง)คณะกรรมการสมาคมฟุตบอลระหว่างประเทศ

ได้ทดลองการกำหนดรูปแบบการ ทำคะแนนในช่วงต่อเวลาที่เรียกว่า โกลเดนโกล โดยทีมที่ทำประตูได้ก่อนในช่วงต่อเวลาจะเป็นผู้ชนะการแข่งขัน และ ซิลเวอร์โกล โดยทีมที่ทำประตูนำเมื่อจบครึ่งเวลาแรกจะเป็นผู้ชนะการแข่งขันโดย โกลเดนโกล ได้ถูกนำมาใช้ใน ฟุตบอลโลก 1998 และ ฟุตบอลโลก 2002 โดยมีการใช้ครั้งแรกในการแข่งขันทีมชาติฝรั่งเศส ชนะ ปารากวัย ในปี 1998 ขณะที่ซิลเวอร์โกลได้มีการใช้ครั้งแรก ในฟุตบอลยูโร 2004 ซึ่งปัจจุบันโกลเดนโกล และซิลเวอร์โกลยกเลิกการใช้แล้ว ประวัติฟุตบอลโลก

ตาราง-12-05-64-v